หน้า 34 จากทั้งหมด 41

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 13 พ.ค. 2013, 09:43
โดย มาดมะขาม
ขอบคุณทุกคนที่แวะเข้ามาตอบและเยี่ยมชมเด้อ ช่วงนี้ผมยุ่งๆเลยไม่ค่อยได้เข้ามาเท่าไหร่ ขออภัยขอรับ (m_ _)m

สำหรับคนที่สนใจ Rohloff ลองไปดูอีกกระทู้เพิ่มเติมได้นะครับ รับรองข้อมูลแน่นเชียว :lol:
http://www.thaimtb.com/forum/viewtopic. ... 7&t=685950

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 13 พ.ค. 2013, 09:57
โดย มาดมะขาม
ปัจจุบันนี้เกียร์ดุมที่ผมเคยลองใช้มาก็มี

- Shimano 3 Spd, Alfine 8 Spd
- Sturmey Archer 3 Spd, 5 Spd

เป้าหมายต่อไป

- Alfine 11 Spd กับ Rohloff 14 Spd(อันนี้คงนานหน่อย แต่ได้ยินว่าเร็วๆนี้ราคาทั้งคู่จะถูกลงอีกพอสมควร Rohloff นี่อาจลงถึงแค่ 4x,xxx- เลยทีเดียว)

ไล่จากรุ่นล่างขึ้นบนเลย จะได้พูดได้เต็มปากว่าดี-ไม่ดียังไง :)

ส่วนตีนผีที่เคยใช้ก็

Shimano 7 Spd, 8 Spd, 9 Spd (XT, SLX, Tiagra และ Deore หรือพวกรุ่นล่างๆที่เป็นเลขรหัสก็เคยใช้)
ปัจจุบันมี Gios ที่ติด Tiagra กับชิพเตอร์สับถัง (สับถังนี่ขึงสายเกียร์ง่ายดีนะ) :lol:

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 13 พ.ค. 2013, 12:52
โดย มาดมะขาม
เห็นว่าชอบตั้งคำถามเปรียบเทียบกันอยู่เรื่อย และเหมือนคำตอบจากปากคนไทยที่เป็นผู้ใช้จะไม่พอ ผมเลยไปเอาบทความต่างประเทศมาเพิ่มจะได้หายสงสัยกันว่าตีนผีกับเกียร์ดุมต่างกันยังไง

ที่มา > http://hubstripping.wordpress.com/geare ... derailleur
Advantages of gear hub drivetrains:
ข้อดีของระบบเกียร์ดุม
Less maintenance because of a sealed system. Lets divide the whole drivetrain for better understnding into two major parts. The first one is the internal gearing hub itself. The second part is the drivetrain which consists out of a chain, the front chainwheel and the cog which is mounted on the right side of the internal gear hub. The internal gear contains the gears and is well sealed against water and dust. The sealing function is done by a more or less good seeling construction and the hub shell.
The second major part, the drivetrain, can optional be capsuled by a chainguard (e.g. Hebie “Chainglider”). This will protect the chain, cog and chainwheel from dirt. This chainguard option is not available for derailleur drivetrains because of the changing chainline while shifting between the different cogs and chainwheels.
ข้อนี้ว่าด้วยระบบปิดและการใช้บังโซ่ของเกียร์ดุม
Less maintenance efforts and costs than derailleurs (Straight chain line, optional wider and stronger chain and cogs available compared to small 7,8,9 or 10 speed chains). The wider and stonger chains are optimized for force transmission and not for flexing ability which is necessary for derailleur systems. Another big point which has an effect on maintenance and efficiency is the chain path. A chain of a gear hub drivetrain has two flex in to direction forward around the cog and back to the chainwheel. The chain of a derailleur drivetrain has to flex more often because of the two derailleur pully wheels. These little wheels will force the chain to turn in a small radius. This has the effect of additive friction in the chain. The friction in the chain is indirect propotional to the size of the cog. This means a smaller cog will effect a higher chain friction. To reduce maintenance to a minimum there are complete capsuled drivetrains (e.g. Hebie “Chainglider”) available. Result: A wide capsuled straight chain of a internal gear hub drive-train lives 4 to 6 times longer (according time and km) than a thin messy flex chain of a derailleur drive-train
ข้อนี้ว่าด้วยการบำรุงรักษาที่น้อยกว่าระบบตีนผี การที่โซ่เป็นแนวตรงทำให้มีแรงบิดและแรงกระทำน้อยกว่าระบบตีนผี และการที่สามารถปิดโซ่เพื่อกันเศษดินหินต่างๆได้อย่างดีด้วย Hebie Chainglider
รูปภาพ
Easy to adjust than derailleurs.

No dirty trousers by using the Hebie “Chainglider” for example. Important for commuting!

Higher reliability. This is a requirement for all bicycle applications!

Less fragile to crashes or when bicycle falls to one side. There is no distant derailleur (except Srams “Clickbox”). On children bicycles and freerider this is a problem!
การเซ็ตเกียร์ทำได้ง่าย และไม่ต้องกังวลว่าจะล้มไปด้านตีนผี (นอกจากคุณใช้เกียร์ดุมกับ chain tensioner น่ะนะ)
Easy to use with one shifter. The number of a gears for a internal gear hub complies.

There are no ratio overlaps and ineffective “cross” combinations of chainwheels and cogs on the derailers side. For beginners and inside high traffic areas this is a benefit!
ใช้ชิพอันเดียว จึงใช้ง่ายไม่ซับซ้อน และไม่มีปัญหาโซ่เยื้องจากการเข้าเกียร์ไม่เหมาะสม
Less and simpler parts: Single chainwheel, single cog, shorter chain, no rear derailleur, no front derailleur, no chain tensioner (When using horizontal dropouts), no slack adjuster, no front shifter, no front bowden cable. What´s not there cannot break! Higher reliability for all applications.
ชิ้นส่วนน้อยกว่า โซ่ จานหน้าหนึ่งใบ และเฟืองหลังหนึ่งใบเท่านั้น(และอีกหลายชิ้น อ่านที่เค้าว่าเอาละกันครับ)
Shifting without pedaling. Important for city rides and trials!

Clean and pure apperance. The derailleur is the PC and the gear hub the MAC drivetrain according to design!

Combinations with coaster brakes are possible. This will reduce the overall bicycle maintenance to a absolute minimum. With the coaster brake no (frozen) bowden cables are necessary (possible!). All year commuting requirement!

No chainsuck! When riding off road or bad roads!
ปั่นตอนหยุดได้ ระบบขับเคลื่อนดูเรียบง่ายกว่าระบบตีนผี ใช้ระบบ coaster brakes เพื่อลดการดูแลรักษาลงไปอีกได้ และไม่มีปัญหาโซ่ติดโซ่ค้างเหมือนตีนผี
The chain cannot jump from chainwheel and cog because of missing rear derailleur. When riding off road or bad roads!
ไม่มีปัญหาโซ่ตกโซ่กระโดด (นอกจากปั่นจนโซ่ยืดหมดแล้วและไม่ได้มาปรับความตึงโซ่ใหม่น่ะนะ)
Shifting under force is possible for Sram i-Motion, Shimano Nexus Inter 8 / Alfine and Rohloff Speedhub. When you ride in a sportive way or uphill this should be the hubs to look for!
เปลี่ยนเกียร์ตอนปั่นทำได้ อย่างที่ผมเคยบอกว่าทำได้ แต่ไม่จำเป็นก็อย่าทำเพื่อให้เกียร์ใช้ได้นานขึ้น (แต่มันก็ไม่พังง่ายๆหรอก ฝึกซักหน่อยก็เปลี่ยนเกียร์ในพริบตาได้ แค่หยุดปั่นแว๊บเดียวเอง)
Constant gear ratio steps in one shifting row (Rohloff Speedhub, Sram i-Motion 9). This is a benefit for long distance riders (20km +). You´ll find easy the right gear to achieve your preferred cadence.
อันนี้แปลไม่ถูก แปลเองละกันครับ :lol:
Low shifting force because of pedaling power system (Shimano Nexus Inter 8 / Alfine and Sram i-Motion). This is interesting for children bicycles and when riding in the rain (with reduced grip on the handlebar).
อันนี้ไม่แน่ใจ ใช้กำลังเปลี่ยนเกียร์น้อยกว่า? :lol:
Stronger and longlasting rear wheels. There is only one cog on a internal gear hub. This has the effect that the spoke flange of the hub can be placed more on the outside. That means the spokes from the left side and the right side (cog side) of the hub can be tensioned more homogenius because of a similar spoke angle. This gives a wheel builder the possibility to increase the spoke tension. A higher spoke tension will result a longer lasting stiff wheel.
ล้อหลังอายุการใช้งานมากกว่า ทนทานกว่า (อันนี้คุณซาเล้งสีแดงเคยว่าไว้) :mrgreen:


Disadvantages of gear hub drivetrains:
มาดูข้อเสียกันบ้าง
A lower overall gear ratio. A derailleur drivetrain comes with 550% overall gear ratio. This means with one turn in the highest gear you´ll cycle a distance which is 5.5 times longer compared to the first gear. A Shimano Inter 8 hub comes with a overall gear ratio of 306%. So for a very mountainous region you should go for a high gear ratio. That means you have gears for climbing and for fast downhill in your backpack. An expensive internal gear alternative is the Rohloff Speedhub with a overall gear ratio of 526%.
อัตราทดเกียร์ดุมต่ำกว่าตีนผี :D
Heavier than high end derailleurs. Necessary for sportive cycling!
น้ำหนักมากกว่าระบบตีนผีดีๆ ซึ่งน้ำหนักนี่และที่จำเป็นมากสำหรับผู้นิยมความเบาและนักแข่ง
More expensive than derailleurs. This is also a question of quality. But in general the ratio Price/Gear is a advantage for derailleurs. For bikes which are parked poutside and could be stolen.

More complicated than derailleurs. The internal mechanism may be difficult to understand. But normally it´s not necessary to open a gear hub.
แพงกว่าระบบตีนผี ซึ่งสามารถหาซื้อแบบถูกๆได้ในอัตราทดสูง (เกียร์ดุมถูกก็มี แต่เป็นพวก 3 สปีด, 5 สปีดเท่านั้น) และมีความซับซ้อนด้านกลไกกว่า(ในกรณีที่จะซ่อมเองน่ะนะ)
8% efficiency loss against derailleurs (except Rohloff Speedhub). Internal gear hubs have a efficiency of 92% compared to 98% for derailleurs. These numbers are valid for new and perfect trimmed drivetrains! There are three friction loss sources inside a internal gear hub drivetrain:

a) Inside a internal gear hub are planetary gears. The planetary wheels cogs into the sun wheels and the ring gear wheel at the same time. This system results a friction loss of 4%

b) Also the friction bearings of the planetary wheels are a source of friction loss.

c) Finally the friction loss of the chain which is also relevant for the derailleurs.

This is the most important disadvantage for sportive riders. But compared to the power loss because of air resistance of the system rider + bicycle this is not worth mentioning!
ไม่รู้เรื่อง อันนี้แปลเองละกัน :lol:
Inhomogeneous weight allocation between front and the rear wheel. This can be a point for sportive applications (e.g. MTB, Freeride, Downhill)

Less minute adjustment to gear ratios than derailleurs. The gear steps are defined the overall gear ratio can be adjusted by other cogs and cahinwheels. This is again a point for sportive cyclists.
น้ำหนักล้อหลังกับล้อหน้าต่างกันมาก ซึ่งจะมีผลกับการแข่งจักรยานบางประเภท และอัตราทดระหว่างเกียร์ไม่สามารถปรับละเอียดเหมือนตีนผีได้ ซึ่งน่าจะจำเป็นสำหรับจักรยานแข่งขัน :o
Difficult wheel removal. With the new i-Motion Sram hubs the differences fade. But it´s still an issue to tight the chain. This is not necessary for derailleurs.
ถอดล้อยากกว่า กรณีตีนผีใช้มือปลดแกนปลดเร็วก็จบ แต่กับเกียร์ดุมต้องพึ่งประแจอันนึง :mrgreen:
The input momentum into the internal gear hub is limited. This means low overall gear ratios cannot be realized (except Rohloff Speedhub). Important point for uphill cycling.
ไม่รู้อีกแล้ว รู้แค่น่าจะเกี่ยวกับการขึ้นเขา :mrgreen:

ที่เหลือก็อยู่ที่คนใช้เองว่าจะใช้อะไรให้เหมาะสมกับตัวเองครับ :mrgreen:

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 14 พ.ค. 2013, 16:18
โดย chartrakarn
Gear

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 15 พ.ค. 2013, 08:15
โดย MERIDAMATTS
ปักกกกกกก เก็บไว้ :D

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 16 พ.ค. 2013, 10:03
โดย zrider1
rohloff วันนี้จัดหาได้ในงบประมาณ -3xxxx แล้วครับ เช็คกันดูนะครับ

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 17 พ.ค. 2013, 17:04
โดย มาดมะขาม
zrider1 เขียน:rohloff วันนี้จัดหาได้ในงบประมาณ -3xxxx แล้วครับ เช็คกันดูนะครับ
ขอบคุณมากครับ ราคาปรับแล้วจริงๆด้วย :lol:

และอาจมีบางท่านเข้าใจผิดว่าผมมาอวยเกียร์ดุมแล้วจะไล่เทียบแต่ข้อเสียตีนผีให้จมดิน ให้ดูว่าเกียร์ดุมเทพเหลือเกิน ขอชี้แจงว่า ในกระทู้นี้ผมแค่นำเสนอให้รู้ว่านอกจากตีนผีแล้วข้างนอกเค้าก็ยังมีเกียร์ดุมใช้กันแพร่หลายกว่าบ้านเราเท่านั้น อีกทั้งตีนผีบ้านเราแพร่หลายมากจนไม่จำเป็นต้องมาตั้งกระทู้เจาะลึกแบบนี้ การจะใช้อะไรอยู่ที่ตัวผู้ใช้เองครับ เพราะข้อดีข้อเสียมันต่างกัน ดังการ์ตูนสี่ช่องที่ผมเขียนสรุปไว้ :mrgreen:

รูปภาพ

ผมใช้งานมาทั้งสองแบบระยะทางเกินหมื่นกม.ไปไกลแล้วทั้งสองแบบ เซอร์วิสทั้งตีนผีและเกียร์ดุมด้วยมือตัวเองไปหลายรอบ ถึงขนาดว่าทดลองจนพังเลยก็ทำ หาข้อมูลมามากมาย จึงมั่นใจในความเห็นของตัวเองเต็มที่ครับ :mrgreen:
(แต่ไอ้เรื่องทางเทคนิกยิบย่อยมากๆอย่างกับจะไปแข่งชิงถ้วยอย่าถามนะ ผมเป็นคนขี่จักรยานธรรมดา ไม่ใช่ช่างจักรยานหรือนักแข่ง ถ้าไม่มีในนี้คงต้องรบกวนให้หาข้อมูลเพิ่มกันเองฮา)
:lol:

รูปภาพ

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 17 พ.ค. 2013, 17:53
โดย มาดมะขาม
รูปภาพ
http://forums.mtbr.com/internal-gear-hu ... 54691.html
รายงานการตัวหลังใช้งาน Alfine 11 ของสมาชิกใน mtbr ครับ (พี่แกใช้น้ำมัน Rohloff ใส่ Alfine 11 ด้วยว่าแกใช้ Rohloff อยู่แล้ว ถ้าเป็นอะไรไว้จะเอามารายงานอีกทีครับ ฮา) :mrgreen:
Hate to say, if you're worried about the weight this isn't for you, just picking up the hub will be turn off for most. Traditional set-up will have the wt savings.,
http://forums.mtbr.com/internal-gear-hu ... 054-3.html

คอมเม้นต์จากหนึ่งในผู้ใช้เกียร์ดุม เผื่อว่าผมพูดแล้วไม่มีน้ำหนักพอ ถ้าคุณเป็นนักปั่นที่ให้ความสำคัญกับน้ำหนักจักรยานแล้วชอบความเร็ว ไม่ต้องมาสนใจเกียร์ดุมเลยครับ คงไม่ใช่ของสำหรับคุณแน่นอน :mrgreen:

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 17 พ.ค. 2013, 21:53
โดย kaew.samui
มาดมะขาม เขียน:
zrider1 เขียน:rohloff วันนี้จัดหาได้ในงบประมาณ -3xxxx แล้วครับ เช็คกันดูนะครับ
ขอบคุณมากครับ ราคาปรับแล้วจริงๆด้วย :lol:

และอาจมีบางท่านเข้าใจผิดว่าผมมาอวยเกียร์ดุมแล้วจะไล่เทียบแต่ข้อเสียตีนผีให้จมดิน ให้ดูว่าเกียร์ดุมเทพเหลือเกิน ขอชี้แจงว่า ในกระทู้นี้ผมแค่นำเสนอให้รู้ว่านอกจากตีนผีแล้วข้างนอกเค้าก็ยังมีเกียร์ดุมใช้กันแพร่หลายกว่าบ้านเราเท่านั้น อีกทั้งตีนผีบ้านเราแพร่หลายมากจนไม่จำเป็นต้องมาตั้งกระทู้เจาะลึกแบบนี้ การจะใช้อะไรอยู่ที่ตัวผู้ใช้เองครับ เพราะข้อดีข้อเสียมันต่างกัน ดังการ์ตูนสี่ช่องที่ผมเขียนสรุปไว้ :mrgreen:

รูปภาพ

ผมใช้งานมาทั้งสองแบบระยะทางเกินหมื่นกม.ไปไกลแล้วทั้งสองแบบ เซอร์วิสทั้งตีนผีและเกียร์ดุมด้วยมือตัวเองไปหลายรอบ ถึงขนาดว่าทดลองจนพังเลยก็ทำ หาข้อมูลมามากมาย จึงมั่นใจในความเห็นของตัวเองเต็มที่ครับ :mrgreen:
(แต่ไอ้เรื่องทางเทคนิกยิบย่อยมากๆอย่างกับจะไปแข่งชิงถ้วยอย่าถามนะ ผมเป็นคนขี่จักรยานธรรมดา ไม่ใช่ช่างจักรยานหรือนักแข่ง ถ้าไม่มีในนี้คงต้องรบกวนให้หาข้อมูลเพิ่มกันเองฮา)
:lol:

รูปภาพ
ผมเห็นด้วยกับการ์ตูนสี่ช่อง ของพี่มาดครับ
ปัจจุบันผม ใช้ทั้ง เกียร์ดุม และ เฟืองตีนผี ผมชอบทั้ง 2 แบบ แล้วแต่การใช้งาน
แต่เกียรดุมเป็นรถใช้งานประจำวัน ส่วนแบบตีนผีไว้อัด กันเพื่อน เสาร์ อาทิตย์
รถผม ประกอบเอง เซ็ทเกียรเอง ทั้ง 2 แบบ ผมว่าไม่ยุ่งยากทั่ง 2 แบบ
ยกเว้นขึ้นซี่ลวด ไม่ว่าดุม หรือ แบบเฟืองตีนผี ก็ให้ช่างทำให้ :mrgreen:

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 18 พ.ค. 2013, 09:33
โดย zrider1
บางทีเรื่องเกียรดุมเนี่ยเปนเรื่องที่เข้าใจยาก ก้น่าเหนใจสำหรับนักขี่หน้าใหม่ๆ ที่เพ่ิงจะมาขี่จักรยานในยุคที่มีตัวเลือกมากมาย เอาใจช่วยให้ใช้สติในการเลือกก้แล้วกัน เลือกให้ดี เพราะว่าในปัจจุบันนี้ นักขี่มีหลายแบบ ก้ฟังหลายๆ แบบแล้วค่อยเอามาคิด ว่าจุดไหนเหมาะหรือไม่เหมาะอย่างไร อย่าฟังแต่ข้อมูลจากพ่อค้า เพราะเค้าก้ต้องพูดเชียร์ว่าสินค้าที่เค้ามีอยุ่นั้นดีในขณะเดียวกันก้โจมตีสินค้าอื่นว่าไม่ดี ซึ่งถ้าเจอพ่อค้าประเภทนี้ ในความคิดผม ควรออกห่าง เพราะว่าไม่เปนสุภาพบุรุษในเชิงธุรกิจ ซึ่งถ้ามีพ่อค้าพวกนี้อยุ่ในโลกจักยานด้วยแล้ว ผมว่าวันข้างหน้า วงการทัวร่ิงน่าจะเสื่อมถอย เปนแน่แท้เชียว

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 18 พ.ค. 2013, 16:12
โดย มาดมะขาม
ขอบคุณมากครับคุณ zrider 1 :)

วันนี้มีคลิปการติดตั้งชิพเตอร์ Rohloff ของ Co-Motion แบบละเอียดยิบลงบนดรอปบาร์ของเสือหมอบครับ (เมื่อก่อนถ้าจะใช้ชิพเตอร์ Rohloff ทำแบบนี้ต้องค่อยๆแยกชิ้นส่วนใส่เข้าไป) :lol:



นอกจากนี้ยังมียี่ห้ออื่น และวิธีอื่นๆอีกด้วย ถ้าสนใจขออัญเชิญเข้าไปดูจากแหล่งที่มาเลยครับ มีตั้งแต่เนี้ยบนิ้่งจนถึงโคตรประหลาด :lol:
รูปภาพ
http://cyclingabout.com/index.php/2011/ ... handlebars

ตามด้วยกระทู้การพูดคุยถึงการใช้งาน Rohloff อย่างได้รสชาติ อ่านสนุกดีเลยแนะนำให้อ่านเล่นๆดูครับ :lol:
http://forums.mtbr.com/internal-gear-hu ... 413-4.html

ปิดท้ายพิเศษกับบอร์ดชาวต่างชาติที่ใช้งาน Rohloff สำหรับคนอยากรู้อยากถามฝรั่ง เชิญเลยครับ :)
http://www.thorncycles.co.uk/forums/ind ... board=25.0

อันนี้เจอเว็ปดีๆเกี่ยวกับ Rohloff โดยคุณ spoon เลยขอเอามาลงหน่อยนะครับ :mrgreen:
http://cyclemonkeylab.blogspot.com/

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 21 พ.ค. 2013, 11:07
โดย มาดมะขาม
จริงๆควรจะเป็นอีก 2-3 ปีผมถึงจะเริ่มมาเก็บข้อมูล Rohloff จริงจังนะ แต่มาเร็วขึ้นอีกนิดก็ โอเคน่ะ :lol:

Schlumpf drivetrain เป็นระบบเกียร์ที่จานหน้า มีอัตราทด 1.65 และสามารถใช้กับเกียร์ดุมได้!! (เว็ปไซต์ที่ได้มาจากคุณ Spoon เค้าเข้าคู่กับ Rohloff เดี๋ยวผมจะดูว่า Alfine 8,11 ใช้ด้วยกันได้มั๊ย)
รูปภาพ
Schlumpf Speed Drive

The Schlumpf Speed Drive is ideal for town bikes: single speeds, fixed gears, internal gear hub bikes, or bikes with only a single, rear, derailleur. The close 1.65 overdrive ratio means shifts can be made more often and more comfortably. This is also the best Schlumpf model to combine with a Rohloff SPEEDHUB 500/14 for those applications in which the gear range of the SPEEDHUB 500/14 is not enough. It's also great for small-wheeled bikes to get a larger gear ratio without a huge physical chainring.

Key specifications and features of the Schlumpf Speed Drive include:

1.65 overdrive ratio (similar to a front derailleur shift)
Small physical chainring and larger effective chainring size in overdrive
mode
Close range well suited for use with single speeds, fixed gears, internal gear hubs, and rear derailleurs
Splined chainrings available in 27-40T
110mm BCD spider also available for standard chainrings
110mm BCD spider version can be used with two chainrings
Optional trouser guard available
Offers 868% gear range when combined with Rohloff SPEEDHUB 500/14
ที่มา : http://www.cyclemonkey.com/schlumpf-innovations.shtml


868% ???? บ้าไปแล้วครับ อันนี้ผมคงยังไม่กล้าเล่นไปถึงขั้นนี้แน่นอน ใครอยากลองช่วยมารายงานการใช้ด้วยนะครับ ฮา (รู้สึกจะทำได้มากกว่านี้ด้วยมั๊ง ลองเข้าไปอ่านละเอียดในเว็ปไซต์เขาละกันครับ) :lol:

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 21 พ.ค. 2013, 11:17
โดย zrider1
ตัวนี้ผมกะลังเล็งอยู่เรยครับพี่ มันมีทั้งใหญ่ทดให้เล็ก หรือ เล็กทดให้ใหญ่ หรือทดให้ได้เร็วขึ้น ได้ทุกรูปแบบเลย แต่ส่วนตัวคิดว่ามันน่าจะเหมาะกับดุมทีมีอัตราทดน้อย เช่น เกียรดุมสาม หรือ เกียรดุมห้า เกียรดุมแปดและ สิบเอ็ด ไม่น่าเหมาะกับ rohloff เพราะว่า rohloff มันให้มากพออยู่แล้ว

เท่าที่ไปอ่านดู มันมี สามขนาดครับ 1:2.5 , 1.65:1 , 2.5:1

สำหรับคอทัวริ่งอย่างพวกเราน่าจะใช้ รุ่นที่เป็นอัตราทด 1:2.5 ครับ คือ ใหญ่ทดไปเป็นเล็ก คือว่าถ้าจานหน้าเราเป็น50ฟัน เมื่อกดให้มันทำงานทดเล็กลง นั้นเท่ากับว่ามันจะทำงานในอัตราทดเท่ากับ 50 หาร ด้วย 2.5 เท่ากับจานหน้าจะเหลือแค่ 20 ฟัน ไปในบัดดล

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?(มีสารบัญหน้าแรกครับ)

โพสต์: 21 พ.ค. 2013, 11:22
โดย zrider1
กำลังมีความคิดว่าจะเอาเจ้าตัวนี้มาบวกกับ nuvinci สักกะหน่อย เพราะว่า มี alfine กับ rohloff ยังขาด nuvinci พอดีได้ข้อมูลเจ้าตัวนี้มา เลยมีโครงการ nuvinci + schlumpf ครับ

Re: ทัวริงด้วยเกียร์ดุม?

โพสต์: 21 พ.ค. 2013, 12:50
โดย มาดมะขาม
มาดมะขาม เขียน:เป็นไปได้หรือเปล่าที่จะใ้ช้ สับจานกับเกียร์ดุมครับ?(เอาเป็น Alfine 11 สปีดไปเลยละกันครับ)

หลังจากลองหาข้อมูลเพิ่ม มีคนใช้เกียร์ดุม alfine 8 สปีด ทัวริงระยะไกลด้วยครับ(ดูเหมือนตานี่จะเป็นแฟนเกียร์ดุม มีทั้ง Rohloff กับ Alfine เลย)

รูปภาพ

http://thelazyrando.wordpress.com/?s=cdn+gdr

ภาพพร้อมข้อความ :D

http://www.flickr.com/photos/vikapprove ... 470407905/

ว่าแต่ เขาใช้ล้อโคตรใหญ่เลยครับ แต่ว่าเอาไปวิ่งลุยเข้าป่าแบบนั้นก็สมควรอยู่หรอก :lol:
นี่เป็น Quote reply หน้าสองที่ผมเขียนไว้

คนๆเดียวกันคับที่ผมหาข้อมูลไว้ตั้งแต่ก่อนจะเริ่มใช้เกียร์ดุมเมื่อสามปีก่อนก็ยังคงใช้อยู่เหมือนเดิม ที่ตลกคือคนที่เปลี่ยนน้ำมัน Alfine 11 ด้วยน้ำมัน Rohloff ก็คือตานี่อีก บังเอิญจริงๆครับ :lol:
http://thelazyrando.wordpress.com